หน้าแรก
เกี่ยวกับแผนงาน
เครือข่ายและกิจกรรม
ผลผลิตและรายงาน
ข้อมูลและสถิติ
การจัดการความรู้
หน่วยงาน
ติดต่อแผนงาน
เจ้าหน้าที่ดูแลระบบ
เรื่องเล่าข่าวสุขภาพ
|
สมรรถภาพร่างกาย
|
สุขภาวะทางจิต
|
สุขภาพกับความงาม
|
สื่อกับสุขภาพ
|
สมุนไพรเพื่อสุขภาพ
|
ธรรมะกับสุขภาพ
แบบคัดกรองความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย
แบบคัดกรองความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย
ข้อมูลเกี่ยวกับการฆ่าตัวตาย
1. ชื่อ - นามสกุล _______________________________________________________
2. ที่อยู่ ______________________________________________________________
โทรศัพท์ ___________________________________________________________
3. เคยฆ่าตัวตายหรือไม่
เคย
ไม่เคย
4. เคยพยายามฆ่าตัวตายในอดีต _______ ครั้ง
5. ประวัติพยายามฆ่าตัวตาย
ถ้ามี วิธีการอย่างไร
ครั้งที่ 1 วิธีการ _______________________ สาเหตุ ________________________
เวลา _______________________ สถานที่ ________________________
ครั้งที่ 2 วิธีการ _______________________ สาเหตุ ________________________
เวลา _______________________ สถานที่ ________________________
ครั้งที่ 3 วิธีการ _______________________ สาเหตุ ________________________
เวลา _______________________ สถานที่ ________________________
ครั้งที่ 4 วิธีการ _______________________ สาเหตุ ________________________
เวลา _______________________ สถานที่ ________________________
แบบคัดกรองความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย
สามารถประเมินผู้ที่เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายโดยสอบถามว่า 2 สัปดาห์นี้มีเหตุการณ์ อาการหรือความคิด
ความรู้สึกดังต่อไปนี้หรือไม่
รายการประเมิน
มี
ไม่มี
1. มีสีหน้าเป็นทุกข์ หม่นหมอง เศร้าซึม ร้องไห้
(ผู้สัมภาษณ์สังเกตพบขณะสัมภาษณ์)
2. เป็นโรคร้ายแรงหรือเรื้อรัง และมีผลกระทบต่อชีวิตประจำวันมาก
3. เข้ารักษาในโรงพยาบาลด้วยสาเหตุฆ่าตัวตายหรือเคยทำมาก่อน
4. สูญเสียอวัยวะที่สำคัญอย่างไม่คาดคิด
(ระบุอวัยวะที่สูญเสีย................)
5. มีการสูญเสียคนรัก (คนรัก เงินทอง หรือบุคคลอันเป็นที่รัก
หน้าที่การงาน)
6.ท่านดื่มเครื่องดื่มประเภทแอลกอฮอล์บ่อยครั้ง ดื่มหนัก ดื่มจนเมา
7.มีเรื่องกดดัน หรือคับข้องใจ
8.รู้สึกสิ้นหวัง ไม่มีค่าที่จะอยู่ต่อไปตาย
9.เป็นทุกข์ จนไม่อยากมีชีวิตอยู่ต่อไป
10.กำลังคิดฆ่าตัว
การแปลผล
ตอบ(มี) ตั้งแต่ 2 ข้อขึ้นไป หมายถึง มีความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย ควรได้รับบริการปรึกษาแพทย์และใช้
แบบคัดกรองภาวะซึมเศร้าควบคู่กันไป
ขอขอบคุณที่มา :
http://www.dmh.go.th
ภาพประกอบจากอินเตอร์เน็ต
หน้าแรก
|
เกี่ยวกับแผนงาน
|
เครือข่ายและกิจกรรม
|
ผลผลิตและรายงาน
|
ข้อมูลสถิติ
|
การจัดการความรู้
|
หน่วยงาน |
ติดต่อแผนงาน |
เจ้าหน้าที่ดูแลระบบ
แนะนำแผนงาน
|
ข่าวกิจกรรม
|
เกาะติดกิจกรรมเด่น
|
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
|
ผลผลิตและรายงาน
|
รายงานสุขภาพ
|
ก้าวใหม่กับ HISO
|
สถานการณ์สุขภาพประเทศไทย
การวิเคราะห์สถานการณ์สุขภาพ
|
สถานการณ์ข่าวสุขภาพ
|
เรื่องเล่าข่าวสุขภาพ
|
สื่อข้อมูลสุขภาพ
|
แบบสำรวจสุขภาพ
|
webbord
|
คำถามที่พบบ่อย
|
สมุดเยี่ยมชม
|
บริการข้อมูล