picture
รายงานการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย
ครั้งที่ 4 พ.ศ. 2551 - 2552 
( รายงานการสำรวจการบริโภคอาหารของประชาชนไทย )


อาหารเป็นปัจจัยที่สำคัญต่อชีวิตและสุขภาพของมนุษย์ การได้รับอาหารที่ไม่เหมาะสม ทั้งประเภทและ ปริมาณ ย่อมมีผลกระทบต่อสุขภาพอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ การประเมินเพื่อทราบสถานะและพฤติกรรมการบริโภค อาหารของประชาชนจึงมีความสำคัญต่อการจัดการระบบสุขภาพและสุขภาวะของประชาชน ประเทศไทยมีการ สำรวจภาวะอาหารและโภชนาการของประชากรไทยมาแล้ว 5 ครั้ง โดยกองโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวง สาธารณสุข และภาควิชาโภชนวิทยา คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ในปี พ.ศ. 2503, 2518, 2529, 2538 และ 2546 ตามลำดับ สำหรับการสำรวจด้านพฤติกรรมการบริโภคอาหารในปี พ.ศ. 2551-2 นี้ เป็น ส่วนหนึ่งของการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายครั้งที่ 4 ปี พ.ศ. 2551-2 ซึ่งดำเนินการโดย สำนักงานสำรวจสุขภาพประชาชนไทย สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข และนับเป็นครั้งแรกของการสำรวจสุขภาพ ประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายที่มีการสำรวจด้านโภชนาการรวมอยู่ด้วย โดยการสำรวจครอบคลุมพฤติกรรม การกินอาหาร ความถี่ในการบริโภคอาหารชนิดต่างๆ และอาหารที่บริโภคย้อนหลัง 24 ชั่วโมง สำหรับใน รายงานฉบับนี้เป็นการเสนอผลการสำรวจความถี่ในการบริโภคอาหารและอาหารที่บริโภคย้อนหลัง 24 ชั่วโมง ที่ผ่านมา ทางคณะผู้ดำเนินงานหวังเป็นอย่างยิ่งว่า รายงานผลการศึกษานี้จะเป็นประโยชน์ต่อการดำเนินด้าน โภชนาการและสุขภาพของประชาชนไทยต่อไป

จัดทำโดย  สำนักงานสำรวจสุขภาพประชาชนไทย (สสท.)
สนับสนุนโดย   สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข , สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ , สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ , กระทรวงสาธารณสุข พ
สารบัญรายงาน

  ส่วนนำรายงาน (กิติกรรมประกาศ คำนำ สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญรูป บทคัดย่อสำหรับผู้บริหาร)
  บทที่ 1 ความเป็นมาและวัตถุประสงค์
    1.1 ความเป็นมา
    1.2 วัตถุประสงค์
  บทที่ 2 ระเบียบวิธีการสำรวจ
    2.1 การสัมภาษณ์ความถี่ในการบริโภคอาหาร
          2.1.1 ประชากรกลุ่มเป้าหมาย
          2.1.2 การสุ่มตัวอย่างและจำนวนประชากรตัวอย่าง
          2.1.3 กลุ่มเป้าหมายและขนาดตัวอย่างของแต่ละกลุ่ม
          2.1.4 การวิเคราะห์ข้อมูล
                  2.1.4.1 การคำนวณค่าถ่วงน้ำหนัก
                  2.1.4.2 การปรับค่าถ่วงน้ำหนักด้วยการไม่ตอบ
                  2.1.4.3 การปรับค่าถ่วงน้ำหนักด้วยการแบ่งข้อมูลออกเป็นชั้นภูมิ
          2.1.5 เครื่องมือและวิธีการสัมภาษณ์ความถี่ในการบริโภคอาหาร
                  2.1.5.1 เครื่องมือการสัมภาษณ์ความถี่ในการบริโภคอาหาร
                  2.1.5.2 วิธีการสัมภาษณ์ความถี่ในการบริโภคอาหาร
          2.1.6 การวิเคราะห์ข้อมูลความถี่ในการบริโภคอาหาร
    2.2 การสัมภาษณ์อาหารบริโภคทบทวนความจำย้อนหลัง 24 ชั่วโมง
          2.2.1 ประชากรกลุ่มเป้าหมาย
          2.2.2 การคัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง
          2.2.3 การสุ่มบุคคลตัวอย่าง
          2.2.4 เครื่องมือและวิธีการสัมภาษณ์อาหารบริโภคทบทวนความจำย้อนหลัง 24 ชั่วโมง
                  2.2.4.1 เครื่องมือการสัมภาษณ์อาหารบริโภคทบทวนความจำย้อนหลัง 24 ชั่วโมง
                  2.2.4.2 วิธีการสัมภาษณ์อาหารบริโภคทบทวนความจำย้อนหลัง 24 ชั่วโมง
          2.2.5 การเก็บรวบรวมข้อมูล
                  2.2.5.1 การอบรมเจ้าหน้าที่ก่อนปฏิบัติการภาคสนาม
                  2.2.5.2 การควบคุมคุณภาพ
                  2.2.5.3 การเก็บรวบรวมข้อมูล
          2.2.6 การดำเนินการและวิเคราะห์ข้อมูลอาหารบริโภค
          2.2.7 การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ
  บทที่ 3 ผลการสำรวจความถี่ในการบริโภคอาหาร
    3.1 ลักษณะข้อมูลประชากร
    3.2 ความถี่ในการบริโภคอาหารประเภทต่างๆ
          3.2.1 ความถี่ในการบริโภคอาหารประเภทต่างๆ ของประชากรเด็กอายุ 2-14 ปี
          3.2.2 ความถี่ในการบริโภคอาหารประเภทต่างๆ ของประชากรกลุ่มอายุ 15 ปีขึ้นไป
    3.3 บทสรุปและข้อเสนอแนะจากการสัมภาษณ์ความถี่ในการบริโภคอาหาร
          3.3.1 บทสรุปจากการสัมภาษณ์ความถี่ในการบริโภคอาหาร
          3.3.2 ข้อเสนอแนะจากการสัมภาษณ์ความถี่ในการบริโภคอาหาร
  บทที่ 4 ผลการสำรวจอาหารบริโภคโดยการสัมภาษณ์อาหารบริโภคทบทวนความจำย้อนหลัง 24 ชั่วโมง
    4.1 ลักษณะข้อมูลประชากรและอาหารบริโภค
    4.2 การได้รับพลังงานและสารอาหารและการบริโภคอาหารกลุ่มต่างๆ
          4.2.1 เด็กอายุ 1-8 ปี
          4.2.2 วัยรุ่นอายุ 9-18 ปี
          4.2.3 ผู้ใหญ่อายุ 19-59 ปี
          4.2.4 ผู้สูงอายุอายุ 60 ปีขึ้นไป
    4.3 ร้อยละของปริมาณสารอาหารอ้างอิงที่ควรได้รับประจำวันสำหรับคนไทยจำแนกตามภาคและเขตการปกครอง
    4.4 บทสรุปและข้อเสนอแนะจากการสัมภาษณ์อาหารบริโภคทบทวนความจำย้อนหลัง 24 ชั่วโมง
          4.4.1 บทสรุป : การได้รับพลังงานและสารอาหาร และการบริโภคอาหารกลุ่มต่างๆ
                  4.4.1.1 การได้รับพลังงานและสารอาหาร
                  4.4.1.2 การบริโภคอาหารกลุ่มต่างๆ
          ข้อเสนอแนะในการดำเนินการสำรวจอาหารบริโภคทบทวนความจำย้อนหลัง 24 ชั่วโมง
  บรรณานุกรม
    - ภาคผนวก ก การกระจายพลังงานจากคาร์โบไฮเดรต โปรตีน และไขมันที่ได้รับจากการบริโภค
      อาหารใน 1 วัน
    - ภาคผนวก ข การบริโภคอาหาร (กรัม) ใน 1 วัน เฉพาะกลุ่มตัวอย่างที่บริโภคอาหารตาม
      กลุ่มอาหารต่างๆ จริง ในวันที่สำรวจอาหารบริโภค
    - ภาคผนวก ค ร้อยละของฐานข้อมูลพลังงาน สารอาหาร และส่วนประกอบทางเคมีในอาหาร
    - ภาคผนวก ง ความถี่ในการบริโภคประเภทต่างๆ